ลูกค้าบุคคล
ลูกค้า SME
ลูกค้าธุรกิจ
ลูกค้า Wealth
นักลงทุนสัมพันธ์
ทิสโก้ ไฟแนนเชียลกรุ๊ป
ค้นหาสาขา
TH
EN
เงินฝาก
เงินฝาก
ออมทรัพย์
บัญชีเงินฝากพื้นฐาน
ออมทรัพย์พิเศษ
ซุปเปอร์ออมทรัพย์
ออมทรัพย์ไดมอนด์
ออมทรัพย์บลูไดมอนด์
ออมทรัพย์ TISCO My Savings
ออมทรัพย์ TISCO e-Savings
กระแสรายวัน
กระแสรายวันพิเศษ
ฝากประจำ
ปลอดภาษี
ลงทุน
ลงทุน
ซื้อขายหลักทรัพย์
ซื้อขายอนุพันธ์
ซื้อขายหลักทรัพย์ต่างประเทศ
กองทุนรวมธนาคารทิสโก้
กองทุนรวม บลจ.ทิสโก้
ลงทุน SSF / RMF บลจ.ทิสโก้
สินเชื่อ
สินเชื่อ
สินเชื่อบ้าน
สินเชื่อบ้านแลกเงิน
สินเชื่อรีไฟแนนซ์บ้าน
สินเชื่อรีไฟแนนซ์บ้านแลกเงิน
สมหวัง โฉนดแลกเงิน
สินเชื่อรถใหม่
สินเชื่อรถมือสอง
สินเชื่อทะเบียนรถ
สินเชื่อเพื่อข้าราชการบำนาญ
ประกัน
ประกัน
ประกันชีวิต
ประกันสุขภาพและโรคร้ายแรง
ประกันรถยนต์
ประกันอุบัติเหตุ
ประกันภัยเพื่อที่อยู่อาศัย
ประกันตามไลฟ์สไตล์
ชำระเบี้ยประกันภัย
บริการ
บริการธนาคาร
บริการทิสโก้พร้อมเพย์
บัตร ATM TISCO
บริการ TISCO LINE Alert
บริการ TISCO Alert
TISCO My Wealth
บริการ LINE Official
TISCO My Car
บริการรับชำระเงิน
บริการชำระบิลข้ามธนาคาร
ประกาศขายทรัพย์สิน
ประมูลรถยนต์
e-Service
e-Service
e-Statement
e-Cash Management
e-Invest
e-Trade
e-Provident Fund
Corporate File Transfer
หน้าแรก
เงินฝาก
เงินฝากออมทรัพย์
ออมทรัพย์
ออมทรัพย์บัญชีเงินฝากพื้นฐาน
ออมทรัพย์พิเศษ
ซุปเปอร์ออมทรัพย์
ออมทรัพย์ TISCO My Savings
ออมทรัพย์ TISCO e-Savings
ออมทรัพย์ไดมอนด์
ออมทรัพย์บลูไดมอนด์
เงินฝากกระแสรายวัน
กระแสรายวัน
กระแสรายวันพิเศษ
เงินฝากประจำ
ฝากประจำ
ปลอดภาษี
ลงทุน
หลักทรัพย์
ซื้อขายหลักทรัพย์
ซื้อขายอนุพันธ์
ซื้อขายหลักทรัพย์ต่างประเทศ
กองทุน
กองทุนรวมธนาคารทิสโก้
กองทุนรวม บลจ.ทิสโก้
SSF / RMF บลจ.ทิสโก้
สินเชื่อ
สินเชื่อบ้าน
สินเชื่อบ้าน
สินเชื่อบ้านแลกเงิน
สินเชื่อรีไฟแนนซ์บ้าน
สินเชื่อรีไฟแนนซ์บ้านแลกเงิน
สมหวัง โฉนดแลกเงิน
สินเชื่อรถ
สินเชื่อรถใหม่
สินเชื่อรถมือสอง
สินเชื่อทะเบียนรถ
สินเชื่ออื่นๆ
สินเชื่อเพื่อข้าราชการบำนาญ
ชำระค่างวด หรือ ธุรกรรมอื่นๆ
ประกัน
ประกันชีวิตสะสมทรัพย์ (ลดหย่อนภาษี)
ประกันชีวิตแบบตลอดชีพ
ประกันสุขภาพและโรคร้ายแรง
ประกันรถยนต์
ประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคล
ประกันภัยเพื่อที่อยู่อาศัย
ประกันตามไลฟ์สไตล์
ชำระเบี้ยประกันภัย
บริการธนาคาร
บริการทิสโก้พร้อมเพย์
บัตร ATM TISCO
บริการ TISCO LINE Alert
บริการ TISCO Alert
TISCO My Wealth
บริการ LINE Official
TISCO My Car
บริการรับชำระเงิน
บริการชำระบิลข้ามธนาคาร
ประกาศขายทรัพย์สิน
ประมูลรถยนต์
e-Service
e-Statement
e-Cash Management
Corporate File Transfer
ลูกค้า SME
ลูกค้าธุรกิจ
นักลงทุนสัมพันธ์
ทิสโก้ ไฟแนนเชียลกรุ๊ป
ค้นหาสาขา
TH
EN
TISCO Advisory
มาดูกัน อายุเท่าไหร่เหมาะกับประกันแบบไหน ?
โพสต์เมื่อ 30 กรกฎาคม 2567 | บทความโดย : TISCO
การวางแผนประกันเป็นการโอนความเสี่ยงไปยังบริษัทที่รับประกัน เป็นหนึ่งในวิธีการจัดการความเสี่ยงที่มีความสำคัญเป็นอย่างมาก ในการช่วยบรรเทาภาระทางการเงินจากผลกระทบที่เกิดขึ้น ใครที่กำลังเริ่มต้นอยากวางแผนซื้อประกันเพื่อเตรียมรับมือกับสิ่งที่ไม่คาดคิดในอนาคต แต่พอลองหาข้อมูลก็จะเห็นว่าประกันนั้นมีหลายแบบจนเลือกไม่ถูก ไม่ว่าจะประกันชีวิต ประกันอุบัติเหตุ ประกันสุขภาพ และอีกมากมาย ถ้าหากไม่รู้จะเลือกซื้อแบบไหนให้ตรงตามความต้องการ ขอแนะนำแนวทางการเลือกซื้อประกันที่เหมาะตามอายุ ซึ่งตอบโจทย์ตามแต่ละช่วงวัย จะได้เป็นตัวช่วยในการตัดสินใจเลือกซื้อประกัน
ในวัยนี้คงไม่ใช่การนำประกันชีวิตมาลดหย่อนภาษี หรือเพื่อคนข้างหลังแน่ๆ แต่วัยเด็กแบบนี้เหมาะกับการทำประกันสุขภาพและประกันอุบัติเหตุมากกว่าประกันชีวิต เพราะเป็นวัยที่มีความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยและการเกิดอุบัติเหตุมากกว่าวัยอื่นๆ ถ้าเป็นเด็กวัย 0-5 ปีที่ร่างกายยังไม่มีภูมิคุ้มกันที่แข็งแรงพอ ก็มักจะเจ็บป่วยง่ายกว่าเด็กวัยอื่น ซึ่งเบี้ยประกันสุขภาพของเด็กวัย 0-5 ปีก็จะสูงตามสถิติการเจ็บป่วยของเด็กวัยนี้ แต่หลังจากนั้น เบี้ยประกันก็จะถูกลง และในวัยที่เริ่มวิ่งซนจนถึงช่วงวัยรุ่นที่เล่นกีฬาผาดโผน ก็มักจะมีความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุอยู่บ่อยๆ ดังนั้นการทำประกันสุขภาพหรือประกันอุบัติเหตุจึงเป็นการแบ่งเบาภาระค่าใช้จ่ายหากเกิดเหตุที่ต้องใช้ค่ารักษาพยาบาลจำนวนมาก
ในช่วงนี้เป็นวัยเริ่มทำงาน และยังไม่มีใครที่มาพึ่งพิงรายได้ของเรา จึงเป็นวัยที่เหมาะกับการวางแผนการเงินเพื่อสร้างฐานะในอนาคต และเมื่อทำงานบริษัท เราก็จะได้สวัสดิการประกันสุขภาพไปในตัว ในระยะนี้เป็นช่วงที่ต้องเริ่มจ่ายภาษี เพราะฉะนั้นประกันชีวิตที่หนุ่มสาววัยนี้เริ่มมองก็ควรเป็นแบบประกันที่สามารถช่วยประหยัดภาษีได้ แต่ยังไม่ต้องมีความคุ้มครองสูงมากนัก เช่น ประกันชีวิตแบบสะสมทรัพย์ที่มีระยะเวลาคุ้มครองยาวกว่า 10 ปี
เป็นช่วงที่มีหน้าที่การงานค่อนข้างมั่นคงพร้อมกับภาระหน้าที่ความรับผิดชอบที่เพิ่มมากขึ้น มีบุคคลที่อยู่ในความอุปการะซึ่งอาจรวมทั้งบุพการีและบุตรมักจะอยู่ระหว่างการผ่อนสินทรัพย์มูลค่าสูง เช่น บ้าน รถ ส่งผลต่อความต้องการความคุ้มครองที่ค่อนข้างสูง แบบประกันที่เหมาะสมจึงเป็น “ประกันชีวิตแบบตลอดชีพ” และ “ประกันชีวิตแบบชั่วระยะเวลา” เพื่อสร้างความคุ้มครองให้เพียงพอ และควรเริ่มเตรียมความพร้อมเรื่องแหล่งรายได้ในวัยเกษียณในเวลาเดียวกัน โดยทำ “ประกันแบบบำนาญ”
“สำหรับประกัน ‘แบบตลอดชีพ’ และ ‘บำนาญ’ สามารถใช้เป็นแบบประกันสัญญาหลักที่สามารถแนบสัญญาความคุ้มครองเพิ่มเติมกลุ่มค่ารักษาพยาบาล ความคุ้มครองโรคร้ายแรงให้ได้ช่วงระยะเวลาที่ยาวนานเพื่อให้ครอบคลุม และคุ้มครองไปจนถึงช่วงที่อายุมากขึ้น ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่มีโอกาสต้องใช้ความคุ้มครองส่วนนี้มากขึ้นไปด้วย”
อาจพิจารณาทำ “ประกันสุขภาพ” และ “ประกันอุบัติเหตุ” ให้กับบุตร เพื่อใช้เป็นค่ารักษาพยาบาล ทั้งในกรณีเจ็บป่วยหรือเกิดอุบัติเหตุ เนื่องจากเป็นวัยที่มีโอกาสเจ็บป่วยและเกิดอุบัติเหตุได้ง่าย เพื่อช่วยปกป้องความมั่งคั่งของครอบครัว
สำหรับการดูแลบุพการี การทำประกันสุขภาพให้ท่านเหล่านั้นเพื่อช่วยแบ่งเบาภาระค่ารักษาพยาบาลก็เป็นสิ่งที่น่าสนใจ และยังสามารถใช้ค่าเบี้ยประกันสุขภาพที่จ่ายให้บุพการีมาลดหย่อนภาษีได้ตามที่จ่ายจริงและรวมสูงสุดไม่เกิน 15,000 บาทต่อปี
เป็นช่วงวัยที่ภาระต่างๆ เริ่มลดลง เพราะลูกๆ ก็เติบโตและเริ่มเข้าสู่วัยทำงานกันบ้างแล้ว ประกันชีวิตที่ให้ความคุ้มครองสูงอาจไม่ใช่สิ่งจำเป็นที่สุด ในระยะนี้หากเราไม่เคยมีประกันสุขภาพมาก่อน อาจจะเป็นเวลาที่เราเริ่มมองหาประกันสุขภาพทั้งค่ารักษาพยาบาล หรือคุ้มครองโรคร้ายแรงอย่างจริงจัง เพราะเมื่ออายุมากขึ้น ความเสี่ยงต่อโรคภัยไข้เจ็บก็มากขึ้นตามไปด้วย ถ้าไม่มีประกันสุขภาพ เราอาจต้องเจอกับค่ารักษาพยาบาลมหาศาลก็ได้นะ! และเราคงไม่อยากหมดเงินเก็บที่มีมาทั้งชีวิตกับการรักษาตัวหรอกใช่มั้ยล่ะ การทำประกันชีวิตที่ความคุ้มครองไม่สูงมากนักพ่วงประกันสุขภาพ จึงเป็นทางเลือกหนึ่งในการป้องกันความเสี่ยงนั้น
ติดตามข้อมูลข่าวสาร TISCO ช่องทางอื่น ๆ ได้แล้ววันนี้!
⭐ Facebook >
https://www.facebook.com/TISCOFinancialGroup
⭐ LINE >
https://lin.ee/1NQ6yvI
⭐ Twitter >
https://twitter.com/TISCOAdvisory
⭐ Instagram >
https://instagram.com/tisco_official
⭐ Youtube >
https://www.youtube.com/@TISCOGroup
⭐ Website >
www.tisco.co.th
© สงวนลิขสิทธิ์ 2561 ธนาคารทิสโก้ จำกัด มหาชน
ประกาศความเป็นส่วนตัว
|
คำสงวนสิทธิ์
|
แผนผังเว็บไซต์